วันศุกร์ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2553

การนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ในโฆษณา (Creative Execution)

รูปแบบการนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ในงานโฆษณา


1. การอุปมาทางการเห็น ( Visual Metaphor )
=กินของเย็นของหวานแค่ไหน ฝันก็สะอาด



2. การใช้ภาพเหนือจริง ( Surrealism )
=





3.การสร้างความคิดผิดปกติจากของจริง ( Violating Reality )
=




4. การรวมเข้ากัน ของ สิ่งของสองสิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ( Morphing Blending and Merging)
=



5.การใช้มุมกล้องแทนสายตาผู้ดูหรือผู้ถ่าย (Subjective Camera )

=เป็นภาพนักมวยที่โดนต่อยหน้าอย่างแรง



6.ภาพล้อเลียน ( Visual Parodies )

=ล้อเลียน ในท่านั้ง



7. ภาพที่มีขนาดไม่ปกติ ( Unusual Size )
=โฆษณาเบอร์เกอร์ที่มีขนาดใหญ่กินชิ้นเดียวแล้วอิ่ม

































#2 หน่วยงานหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ

2# หน่วยงานหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ

ข้อมูลเบื้องต้น
ศูนย์ข้อมูล หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ เป็นหน่วยงานเทียบเท่าแผนก สังกัดกองบรรณาธิการ เริ่มก่อตั้งในปี 2506 เรียกว่า” แผนกข่าวภาพ - เอกสาร” ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น “แผนกประวัติ -ภาพ - ข่าว” ในปี 2518 ก่อนจะจัดตั้งเป็นแผนก “ห้องสมุด” ในปี 2522 และเป็นแผนก “ศูนย์ข้อมูล” ในปี 2530 ศูนย์ข้อมูล มีภาระหน้าที่หลักในการให้บริการแก่พนักงานใน กองบรรณาธิการที่เกี่ยวข้องกับงานข่าว ตลอด 24 ชั่วโมง โดยต้องทำหน้าที่รวบรวมข้อมูลข่าวจากหนังสือพิมพ์ฉบับต่าง ๆ ฟิล์มและภาพข่าวจากหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ รวมทั้งเอกสารข้อมูลอื่นๆ ที่จำเป็นเพื่อใช้ประกอบการเขียนข่าวใน กองบรรณาธิการ ต่อมาต้นปี 2538 บริษัทวัชรพล จำกัด มีนโยบายที่จะปรับปรุงศูนย์ข้อมูลให้มีความทันสมัย และสามารถให้บริการแก่ กองบรรณาธิการได้รวดเร็วยิ่งขึ้น อีกทั้งเพื่อเป็นการสร้างฐานข้อมูลรองรับการขยายตัว ของบริษัทในอนาคต โดยได้นำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้กับการจัดการข้อมูลประเภทต่างๆ

วัตถุประสงค์
1.เสนอข่าวสารให้ประชาชนได้รับทราบของข่าวสาร
2.ให้ทราบข้อมูลจริง
3.ให้ประชาชนที่มีรายได้น้อยก็สามารถรู้ข่าวสารได้เพราะหนังสือพิมพ์ไทยรัฐมีราคาที่ถูก
วิเคาะห์ SWOT

S= เป็นหนังสือพิพ์ที่มียอดขายมากที่สุดและเป็นที่รู้จักของประชาชนมากที่สุด

W=สื่อการประชาสัมพันธ์ในปัจจุบันนี้มีมากมีการแข่งขันและประชาชนปัจจุบันชอบความรวดเร็จอาจจะหันไปบริโภคสื่อทางออนไลน์มากขึ้นเพราะมีความรวดเร็วสามารถติดตามสถานการณ์ได้รวดเร็วอีกเช่นเดียวกัน

O=ต้องเกาะติดทุกสถานการณ์เพื่อความต้องการของผู้บริโภคข่าวสาร

T= การพิมพ์ของหนังสือเป็นข่าวที่วันต่อวันถ้าเกาะติดกับกะแสต้องรออีกวันต่อไปถึงจะเกาะติดกระแสต่อไปได้

กลุ่มเป้าหมาย (Main Target)

กายภาพ
-ชาย/หญิง 20-70
-อาชีพ ทุกอาชีพ

แนวความคิด (Concept)

"หนังสือพิม์จำหน่ายมากที่สุดในประเทศ"

เหตุผลสนับสนุนแนวคิด (Support)

เป็นหนังสือพิมพ์ที่ประชาชนให้ความสนใจมากที่สุดเพราะหนังสือพิมพ์ไทยรัฐอยู่คู่กับคนไทยมานานและการเสนอข่าวที่ดีถูกใจผู้บริโภคสื่อ

อารมณ์และความรู้สึก (Mood&Tone)

เอาใจใส่/รักการอ่าน/มีความสุข








ผลการตอบสนอง
1. ประชาชนยังให้ความสนใจกับหนังสือพิมพ์อยู่
2. ไทยรัฐมีการตอบสนองของกลุ่มคนที่ชอบออนไลน์หรือบุคคลทำงานสร้างเว็บไซค์หนังสือพิมพ์ไทยรัฐขึ้นมาเกาะติดกระแสของข่าวได้ทันถ่วงทีของกลุ่มบุคคลที่ชอบความรวดเร็ว